ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดกระดูกหัก
1. อายุ 7. สูบบุหรี่
2. เพศ
8. มีการรับประทานยาสเตอรอยด์
3. น้ำหนัก (กิโลกรัม) 9. ข้ออักเสบรูมาตอยด์
4. ส่วนสูง (เซนติเมตร) 10. มีภาวะเบาหวาน , โรคตับเรื้อรัง หรือ ประจำเดือนหมดก่อนวัย 45ปี
5. เคยกระดูกหักจากอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรงมาก่อน
6. พ่อหรือแม่เคยกระดูกสะโพกหักจากอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรงมาก่อน   
11. ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
        
      

**หมายเหตุ

• แบบสอบถามนี้สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป
• แบบสอบถามนี้ได้นำมาจาก Frax test ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักในระยะเวลาอีก 10 ปีข้างหน้า โดยอาศัยจากฐานข้อมูลของหน่วยงานภายใต้องค์การอนามัยโลก คือ WHO ซึ่งใช้แพร่หลายประเทศทั่วโลก
• แบบสอบถามนี้ได้นำมาจาก Frax test และได้มีการปรับคำหรือเนื้อหาให้เข้าใจง่ายขึ้น
• กรณีกระดูกหักที่ตำแหน่งสำคัญเท่ากับหรือ มากกว่า 20%  หรือ กระดูกสะโพกหักเท่ากับหรือ มากกว่า 3%  แสดงว่ามีแนวโน้มที่กระดูกจะหักจากภาวะโรคกระดูกพรุน ตามแบบอ้างอิงจาก WHO
• ความหนาแน่นของกระดูกคอสะโพกไม่จำเป็นต้องระบุในแบบทดสอบ ก็ยังทำให้แปลผลได้อย่างน่าเชื่อถืออ้างอิงจากหลากหลายงานวิจัย
ส่วนที่ 2 ผลลัพธ์